Animation basics: The optical illusion of motion - TED-Ed

231,579 views ・ 2013-07-13

TED-Ed


โปรดดับเบิลคลิกที่คำบรรยายภาษาอังกฤษด้านล่างเพื่อเล่นวิดีโอ

Translator: Kelwalin Dhanasarnsombut Reviewer: Rawee Ma
00:15
Take a series of still, sequential images.
0
15040
2600
นำชุดภาพนิ่งที่ต่อเนื่องกันมา
00:18
Let's look at them one by one.
1
18360
1440
มองดูพวกมันทีละภาพ
00:23
Faster.
2
23760
1200
เร็วขึ้น
00:28
Now, let's remove the gaps,
3
28440
1816
ทีนี้เอาจังหวะเว้นออกไป
00:30
go faster still.
4
30280
1200
เร็วขึ้นอีก
00:32
Wait for it ...
5
32920
1520
รอสักครู่ ...
00:36
Bam!
6
36160
1416
เย่!
00:37
Motion!
7
37600
1200
ภาพเคลื่อนไหว!
00:39
Why is that?
8
39520
1456
ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น
00:41
Intellectually, we know we're just looking at a series of still images,
9
41000
3536
ลองคิดดูสักนิด เราก็จะรู้ว่า เรากำลังมองชุดภาพนิ่งอยู่
00:44
but when we see them change fast enough,
10
44560
1936
แต่ถ้าเราเห็นพวกมันเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วพอ
00:46
they produce the optical illusion of appearing as a single, persistent image
11
46520
3576
มันจะเกิดภาพลวงตาเป็นภาพเดี่ยวที่คงอยู่
00:50
that's gradually changing form and position.
12
50120
2240
ที่ค่อย ๆ เปลี่ยนรูปร่างและตำแหน่ง
00:53
This effect is the basis for all motion picture technology,
13
53000
3456
ผลที่เกิดขึ้นนี้คือพื้นฐาน ของเทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหวทั้งหมด
00:56
from our LED screens of today
14
56480
1696
ตั้งแต่จอ LED ในปัจจุบัน
00:58
to their 20th-century cathode ray forebearers,
15
58200
2856
ไปจนถึงบรรพบุรุษรังสีคาโทด จากศตวรรษที่ 20 ของมัน
01:01
from cinematic film projection to the novelty toy,
16
61080
3135
จากการฉายฟิล์มภาพยนต์ในโรงหนัง ไปจนถึงของเล่นใหม่ ๆ
01:04
even, it's been suggested, all the way back to the Stone Age
17
64239
2857
ยิ่งกว่านั้น ว่ากันว่า มันมีมาตั้งแต่สมัยยุคหิน
01:07
when humans began painting on cave walls.
18
67120
2000
เมื่อคนเริ่มวาดภาพในถ้ำ
01:09
This phenomenon of perceiving apparent motion in successive images
19
69760
3256
ปรากฏการณ์การรับรู้การเคลื่อนไหว ของภาพต่อเนื่องที่ปรากฏนี้
01:13
is due to a characteristic of human perception
20
73040
2376
เกิดจากลักษณะการรับรู้ของมนุษย์เรา
01:15
historically referred to as "persistence of vision."
21
75440
3136
ที่แต่เดิมเรียกว่า "ภาพติดตา"
01:18
The term is attributed
22
78600
1216
คำที่ถูกประดิษฐ์ขึ้น
01:19
to the English-Swiss physicist Peter Mark Roget,
23
79840
2976
โดยแพทย์ลูกครึ่งชาวอังกฤษสวิส ชื่อว่า ปีเตอร์ มาร์ค โรเก็ต
01:22
who, in the early 19th century,
24
82840
1616
ช่วงต้นศตวรรษที่ 19
01:24
used it to describe a particular defect of the eye
25
84480
2896
เขาใช้คำดังกล่าว อธิบายความผิดปกติของตา
01:27
that resulted in a moving object
26
87400
1576
ที่ทำให้เห็นวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่
01:29
appearing to be still when it reached a certain speed.
27
89000
2680
หยุดอยู่นิ่งเมื่อถึงความเร็วที่จุดหนึ่ง
01:32
Not long after, the term was applied to describe the opposite,
28
92400
3296
ไม่นานหลังจากนั้น คำดังกล่าวถูกใช้อธิบายสิ่งที่ตรงข้ามกัน
01:35
the apparent motion of still images,
29
95720
2016
นั่นคือการเคลื่อนที่ที่ปรากฏขึ้นของภาพนิ่ง
01:37
by Belgian physicist Joseph Plateau, inventor of the phenakistoscope.
30
97760
3760
โดยโจเซฟ พลาทัว แพทย์ชาวเบลเยี่ยม ผู้ประดิษฐ์ฟีนากิสสโตสโคป
01:42
He defined persistence of vision as the result of successive afterimages,
31
102280
4176
เขาบอกว่าการคงอยู่ของภาพ เป็นผลจากภาพติดตาที่ต่อเนื่องกัน
01:46
which were retained and then combined in the retina,
32
106480
2736
ซึ่งถูกคงไว้และถูกรวมกันในจอตา
01:49
making us believe that what we were seeing is a single object in motion.
33
109240
3696
ทำให้เราเชื่อว่าสิ่งที่เรากำลังมองอยู่ เป็นวัตถุเดี่ยวที่กำลังเคลื่อนไหว
01:52
This explanation was widely accepted in the decades to follow
34
112960
2896
คำอธิบายนี้ได้รับการยอมรับแพร่หลาย เป็นเวลาหลายทศวรรษต่อมา
01:55
and up through the turn of the 20th century,
35
115880
2096
จนถึงช่วงเปลี่ยนผ่านของศตวรรษที่ 20
01:58
when some began to question what was physiologically going on.
36
118000
3296
เมื่อบางคนเริ่มที่จะตั้งคำถามว่า มันเกิดอะไรขึ้นในเชิงสรีรวิทยา
02:01
In 1912, German psychologist Max Wertheimer
37
121320
3016
ในปี ค.ศ. 1912 แมกซ์ เวอร์ ไธเมอร์ นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน
02:04
outlined the basic primary stages of apparent motion
38
124360
2616
วางกรอบสถานะหลักพื้นฐาน ของการเคลื่อนไหวที่ปรากฏ
02:07
using simple optical illusions.
39
127000
2256
โดยใช้ภาพลวงตาง่าย ๆ
02:09
These experiments led him to conclude
40
129280
1816
การทดลองเหล่านี้ ทำให้เขาสรุปได้ว่า
02:11
the phenomenon was due to processes which lie behind the retina.
41
131120
3800
ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นเนื่องจาก กระบวนการซึ่งเกิดอยู่หลังจอตา
02:15
In 1915, Hugo Münsterberg,
42
135640
1976
ในปี ค.ศ. 1915 ฮิวโก มวนสเตอร์เบิร์ก
02:17
a German-American pioneer in applied psychology,
43
137640
2416
ผู้บุกเบิกสาขาจิตวิทยาประยุกต์ ลูกครึ่งชาวเยอรมัน-อเมริกัน
02:20
also suggested that the apparent motion of successive images
44
140080
2856
ก็ระบุว่าการเคลื่อนไหวที่ปรากฏขึ้น ของภาพที่ต่อเนื่องกัน
02:22
is not due to their being retained in the eye,
45
142960
2536
ไม่ได้เกิดจากการที่มันถูกคงเอาไว้ในตา
02:25
but is superadded by the action of the mind.
46
145520
2920
แต่มันถูกเพิ่มเข้าไปโดยการกระทำของสมอง
02:29
In the century to follow, experiments by physiologists
47
149520
2576
อีกศตวรรษต่อมา การทดลองโดยนักสรีรวิทยา
02:32
have pretty much confirmed their conclusions.
48
152120
2376
ได้ยืนยันผลสรุปของพวกเขา
02:34
As it relates to the illusion of motion pictures,
49
154520
2336
ด้วยความเกี่ยวข้องกับภาพลวงตา ของภาพที่เคลื่อนไหว
02:36
persistence of vision has less to do with vision itself
50
156880
2696
ทำให้ภาพติดตา ไม่ได้เกี่ยวกับการมองเห็นสักเท่าไร
02:39
than how it's interpreted in the brain.
51
159600
2256
แต่เกี่ยวกับการถูกตีความในสมองมากกว่า
02:41
Research has shown that different aspects of what the eye sees,
52
161880
3536
นักวิจัยได้แสดงให้เห็นว่ามุมมองที่ต่างกัน ของสิ่งที่ตามองเห็น
02:45
like form, color, depth, and motion,
53
165440
3256
เช่น รูปร่าง สี ความลึก และการเคลื่อนไหว
02:48
are transmitted to different areas of the visual cortex
54
168720
2576
ถูกส่งต่อไปยังบริเวณที่แตกต่างกัน ของคอร์เท็กซ์ส่วนการมองเห็น
02:51
via different pathways from the retina.
55
171320
1896
ผ่านวิถีที่แตกต่างกันจากจอตา
02:53
It's the continuous interaction
56
173240
1496
มันเป็นปฏิสัมพันธ์ต่อเนื่อง
02:54
of various computations in the visual cortex
57
174760
2096
ของการคำนวณต่าง ๆ ในคอร์เท็กซ์ส่วนการมองเห็น
02:56
that stitch those different aspects together
58
176880
2256
ที่เชื่อมมุมมองต่าง ๆ เหล่านั้นเข้าด้วยกัน
02:59
and culminate in the perception.
59
179160
1896
และตกตะกอนมาเป็นความเข้าใจ
03:01
Our brains are constantly working,
60
181080
1856
สมองของเราทำงานตลอดเวลา
03:02
synchronizing what we see, hear, smell, and touch
61
182960
2736
ประสานสิ่งที่เราเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น และสัมผัส
03:05
into meaningful experience
62
185720
1296
เป็นประสบการณ์ที่มีความหมาย
03:07
in the moment-to-moment flow of the present.
63
187040
2576
ในแต่ละวินาทีที่กำลังดำเนินอยู่
03:09
So, in order to create the illusion of motion in successive images,
64
189640
3176
ฉะนั้น เพื่อที่จะสร้างภาพลวงตา ของการเคลื่อนไหวของภาพต่อเนื่อง
03:12
we need to get the timing of our intervals
65
192840
2016
เราต้องกำหนดให้เวลาระหว่างช่วง
03:14
close to the speed at which our brains process the present.
66
194880
2840
ใกล้เคียงกับความเร็วที่สมองของเรา ใช้ประมวลสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น
03:18
So, how fast is the present happening according to our brains?
67
198800
3136
แล้วสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นสำหรับสมอง มีความเร็วแค่ไหนกัน
03:21
Well, we can get an idea
68
201960
1216
เราสามารถรู้ได้คร่าว ๆ
03:23
by measuring how fast the images need to be changing
69
203200
2456
โดยการวัดว่า ภาพจะต้องเปลี่ยนไปเร็วแค่ไหน
03:25
for the illusion to work.
70
205680
1216
เพื่อให้ภาพลวงตาเกิดขึ้น
03:26
Let's see if we can figure it out by repeating our experiment.
71
206920
2976
ลองมาดูกันว่า เราจะรู้ไหม ถ้าเราลองทำการทดลองอีกครั้ง
03:29
Here's the sequence presented at a rate of one frame per two seconds
72
209920
4056
นี่คือลำดับภาพที่ปรากฏ ในอัตราหนึ่งภาพต่อสองวินาที
03:34
with one second of black in between.
73
214000
2416
โดยมีช่วงมืดหนึ่งวินาทีขั้นอยู่
03:36
At this rate of change,
74
216440
1216
ด้วยอัตราเร็วนี้
03:37
with the blank space separating the images,
75
217680
2096
และช่วงเว้นที่แยกระหว่างภาพ
03:39
there's no real motion perceptible.
76
219800
2136
เราไม่ได้รับรู้ถึงการเคลื่อนไหว
03:41
As we lessen the duration of blank space,
77
221960
2296
เมื่อเราลดช่วงเว้น
03:44
a slight change in position becomes more apparent,
78
224280
2736
เราเห็นการเปลี่ยนตำแหน่งเล็กน้อยได้ชัดขึ้น
03:47
and you start to get an inkling of a sense of motion
79
227040
2456
และเราก็จะเริ่มเห็นการเคลื่อนไหวบ้าง
03:49
between the disparate frames.
80
229520
1400
ระหว่างภาพที่แตกต่างกัน
03:51
One frame per second.
81
231480
1240
หนึ่งภาพต่อวินาที
03:55
Two frames per second.
82
235520
1280
สองภาพต่อวินาที
03:59
Four frames per second.
83
239480
1440
สี่ภาพต่อวินาที
04:02
Now we're starting to get a feeling of motion,
84
242440
2176
ที่นี้เราเริ่มรู้สึกได้ถึงการเคลื่อนไหว
04:04
but it's really not very smooth.
85
244640
1936
แต่มันก็ยังไม่เนียนเท่าไร
04:06
We're still aware of the fact that we're looking at separate images.
86
246600
3216
เรายังรู้สึกอยู่ดีว่า เรากำลังมองภาพที่ไม่ต่อเนื่องกันอยู่
04:09
Let's speed up. Eight frames per second.
87
249840
1920
ลองมาทำให้เร็วขึ้นเป็น แปดภาพต่อวินาที
04:14
12 frames per second.
88
254200
1480
12 ภาพต่อวินาที
04:16
It looks like we're about there.
89
256560
1680
เหมือนว่าเราจะได้แล้ว
04:21
At 24 frames per second, the motion looks even smoother.
90
261440
3496
ที่ 24 ภาพต่อวินาที การเคลื่อนที่ดูแนบเนียนกว่าอีก
04:24
This is standard full speed.
91
264960
1800
นี่คือความเร็วสูงสุดตามมาตรฐาน
04:28
So, the point at which we lose awareness of the intervals
92
268120
2696
ฉะนั้น จุดที่เราสูญเสียการรับรู้ความไม่ต่อเนื่อง
04:30
and begin to see apparent motion
93
270840
1576
และเริ่มเห็นภาพเคลื่อนไหว
04:32
seems to kick in at around eight to 12 frames per second.
94
272440
2680
เริ่มที่ราว ๆ แปด ถึง 12 ภาพต่อวินาที
04:36
This is in the neighborhood of what science has determined
95
276040
2736
นี่คือสภาพแวดล้อม ที่วิทยาศาสตร์ได้บอกเราว่า
04:38
to be the general threshold of our awareness
96
278800
2096
มันเป็นกรอบความสามารถการรับรู้ของเรา
04:40
of seeing separate images.
97
280920
1296
ในการมองเห็นภาพที่ไม่ต่อเนื่องกัน
04:42
Generally speaking, we being to lose that awareness
98
282240
2416
หรือพูดได้ว่าเรากำลังพ่าย ต่อความสามารถในการการรับรู้
04:44
at intervals of around 100 milliseconds per image,
99
284680
2376
ที่ช่วงเว้นประมาณ 100 มิลลิวินาทีต่อภาพ
04:47
which is equal to a frame rate of around ten frames per second.
100
287080
3136
ซึ่งเท่ากับอัตราภาพ ที่ประมาณสิบภาพต่อวินาที
04:50
As the frame rate increases,
101
290240
1376
เมื่ออัตราภาพเพิ่มขึ้น
04:51
we lose awareness of the intervals completely
102
291640
2136
เราสูญเสียความสามารถในการรับรู้ ความไม่ต่อเนื่องอย่างสิ้นเชิง
04:53
and are all the more convinced of the reality of the illusion.
103
293800
2920
และเชื่อว่าภาพลวงตา เป็นความจริงได้อย่างสนิทใจกว่า
เกี่ยวกับเว็บไซต์นี้

ไซต์นี้จะแนะนำคุณเกี่ยวกับวิดีโอ YouTube ที่เป็นประโยชน์สำหรับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ คุณจะได้เห็นบทเรียนภาษาอังกฤษที่สอนโดยอาจารย์ชั้นนำจากทั่วโลก ดับเบิลคลิกที่คำบรรยายภาษาอังกฤษที่แสดงในแต่ละหน้าของวิดีโอเพื่อเล่นวิดีโอจากที่นั่น คำบรรยายเลื่อนซิงค์กับการเล่นวิดีโอ หากคุณมีความคิดเห็นหรือคำขอใด ๆ โปรดติดต่อเราโดยใช้แบบฟอร์มการติดต่อนี้

https://forms.gle/WvT1wiN1qDtmnspy7